การเผาไหม้ของก๊าซ LPG/NGV จะให้ค่าความร้อนสูงประมาณ กว่า 400 /540c ตามลำดับ ซึ่งจะสูงกว่า การใช้น้ำมันเบนซินถึงกว่า 2-4 เท่าความร้อนที่เกิดนี้จะส่งผล กระทบกับเครื่องยนต์ และชิ้นส่วนต่างๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการสึกหรอของเครื่องยนต์ก่อนเวลาสมควร หากไม่ได้มีการเลือกอุปกรณ์ที่ใช้ในการปกป้องรักษาเครื่องยนต์ที่ ใช้ใน (LPG) โดยตรง และในปัจจุบันยังไม่มีศูนย์บริการที่ให้ความรู้ และหาผลิตภัณฑ์ที่ใช้กับรถ LPG
โดย หงษ์ทองออโต้แก๊ส เป็นร้านแก๊สที่มองเห็นความสำคัญในจุดนี้ จึงร่วมกับ ปั้มแก๊สมาตรฐาน เพื่อให้ข้อมูลการบำรุงรักษา และเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องสำหรับรถใช้แก๊ส โดยคัดเลือกอกผลิตภัณฑ์ที่ได้ มาตรฐานที่มีการพิสูจน์มีการรับรองคุณภาพจากสถาบันต่างๆ เพื่อให้ข้อมูลลูกค้าทำการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง รถธรรมดา มีศูนย์ดูแลอยู่แล้วครับ แต่ถ้าเป็นรถติดแก๊ส เราขออาสาดูแลให้ท่านครับ หงษ์ทอง ออโต้แก๊ส ผู้นำด้านแก๊ส “รักรถคุณเหมือนรถเรา"
1. ผ้าหม้อต้ม (ไดอะเฟรม) เป็นหัวใจหลักของหม้อต้มที่จะเป็นตัวที่ทำให้รถมีอาการวิ่งไม่ออกและกินแก๊สหากไม่ใส่ใจในการเปลี่ยนกรองจะทำให้หม้อต้มเสื่อมคุณภาพ และไม่สามารถใช้งานได้จะมีชุดซ่อมเปลี่ยนอยู่ควรเปลี่ยนทุก 50,000 กิโลเมตร หรือเกิดอาการหากขาด หรือเสื่อมคุณภาพจะทำให้แก๊สรั่ว และตัวนี้ต้องทำงานภายใต้แรงดันแก๊ส สมควรระวังเป็นอย่างยิ่ง หากเสื่อมจะมีอาการ รอบเดินเบาตกมีกลิ่นแก๊ส กินแก๊ส
2. น้ำมันเครื่อง การใช้แก๊สนั้นจะมีอุณหภูมิสูกว่าปกติจึงควรเลือกใช้น้ำมันเครื่องที่ตรงรถใช้แก๊สบางชนิดเพิ่ม โดยไม่ใช่พิมพ์สติกเกอร์แล้วปิดทับในผลิตภัณฑ์ตัวเดิมแบบที่มี อยู่ในท้องตลาด เพื่อสมรรถภาพ สูงสุดของรถใช้แก๊ส
3. ล้างลิ้นปีกผีเสื้อ รถใช้แก๊สเมื่อใช้สักระยะปีกผีเสื้อจะสกปรก จะทำให้รอบเดินเบามีอาการสั่นรอบตกจนทำให้เครื่องดับในรอบเดินเบาตอนใช้แก๊สจะมีอาการมากกว่าน้ำมัน
4. กรองแก๊ส (หัวฉีด) กรองติ๊ก (มิกเซอร์) เป็นอุปกรณีดักจับเศษฝุ่น หรือตะกรที่ปะปนมากับแก๊สก่อนเข้าหม้อต้มซึ่งจะติดมากับหม้อต้มในบางยี่ห้อ สามารถถอดเปลี่ยนได้จะช่วยยืดอายุหัวฉีด หม้อต้ม ซึ่งเป็นอุปกรณ์ราคาแพงหากตันหรอเสื่อมคุณภาพ จะทำให้ รถเร่งไม่ขึ้น รอรอบและมีอาการสะดุด รอบเดิน เบาไม่นิ่งควรเปลี่ยนทุก 25,000 กิโลเมตร เพื่อยืดอายุการใช้งาน
5. หัวเทียน เป็นสิ่งที่ช่วยในการจุดระเบิดรถติดแก๊สค่อนข้างกินหัวเทียน ถ้าไม่ใช้ผลิตภัณฑ์ ที่ช่วยป้องกัน หัวเทียน เรามีหัวเทียนที่ใช้สำหรับรถติด LPG โดยเฉพาะนำเข้าจากประเทศโปแลน ที่ป้องกันการแบ็กฟายโดย ตรงหากเสื่อมคุณภาพ รถจะมีอาการสะอึก เบาดับสตาร์ทยาก สมควรใช้เบอร์ให้ตรงกับรุ่นรถ
6. การตั้งวาวล์ ตามคู่มือรถยนต์นั้นก็จะมีการให้ตั้งวาวล์ 40000 กิโล แต่รถใช้แก๊สนั้น จะทำให้มีการวาวล์เขกหรือยันเร็วกว่าปกติ การตั้งวาวล์นั้น จะทำให้รถมีกำลังดีขึ้นและป้องกันการทำให้วาวล์พังซึ่ง จะทำให้เสียเงินจำนวนมาก
ข้อเปรียบเทียบ |
NGV (หน่วย กิโลกรัม) |
LPG (หน่วย ลิตร) |
LPG (หน่วย ลิตร) |
1. ถ้าต้องการกำลังเครื่องยนต์ |
อืดกว่า |
ดีกว่า อัตราเร่งดีกว่า |
ทดสอบในรถรุ่นเดียวกัน |
2. ถ้าต้องการความประหยัด ค่าใช้จ่าย เรื่องเชื้อเพลิง |
ประหยัดกว่า วิ่งได้ 10 กม/กก (0.75 บาท/กม) |
กินมากกว่า วิ่งได้ 10 กม/ลิตร หรือ 1 บาท/กม |
โดยวิ่งทดสอบ 500 กิโลเมตร อัตราความเร็ว 90 กม/ชม. |
3. จำนวนสถานีบริการ หรือ ปั้มแก๊ส |
น้อยกว่า มีใน กทมและจังหวัด ใหญ่ๆบางจังหวัด |
มากกว่า มีทุกเส้นทาง และ เกือบทุกจังหวัด |
ทุกวันนี้ต่อคิวเติม NGV แถวยาว มากรอนาน เติมช้า และ ต้องแย่งกับรถเมล์ รถบรรทุก รถแท๊กซี่ ซึ่งปัญหานี้ ต้องรอ ปตท.ขยายปั้มเพิ่ม |
4. การดัดแปลงเครื่องยนต์ เพื่อติดตั้ง |
มากกว่า ต้องรอบครอบมากๆทุกจุด |
น้อยกว่า ติดตั้งง่ายไม่ยุ่งยาก |
|
5. ความเสื่อมเครื่องยนต์ถ้า อยู่ในเงื่อนไขเดียวกัน |
ไม่มีข้อมูลการใช้งานนานๆ มาพิจารณา |
มั่นใจกว่า |
LPG มีผลการใช้งานในประเทศ มากว่า 30 ปี |
6. การดูแลรักษาระยะยาว |
เหมือนกัน |
เหมือนกัน |
ต้องหมั่นเช็คระบบความร้อน ระบบหล่อเย็น เช็ครั่ว การทำงานทั่งไปมากเป็น สองเท่าของรถเดิมๆ |
7. การได้รับการสนับสนุน จากภาครัฐและปตท |
ได้รับการสนันสนุน |
ไม่ได้รับการสนับสนุน |
ปตท เกรงว่าจะมี LPG ไม่เพียงพอ ต่อความต้องการ ภาครัวเรือน ภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม และ ยังต้องกันไว้ส่งออกเพื่อ ทำรายได้ให้ ปตท ซึ่งมีมูลค่าส่งออกมหาศาล |
8. ระยะทางในการเดินทาง/ แก๊ส 1 ถัง |
จุได้ไม่เกิน 25 กิโลกรัม |
จุได้ 85 ลิตร ไปได้ไกลกว่ามาก |
สมมุติว่าใช้ถังขนาด 100 ลิตรเท่ากัน |
9. เรื่องราคาค่าติดตั้ง |
แพงกว่า 2 เท่า 3-6 หมื่น |
ถูกกกว่า 1.5-3.5 หมื่น |
ถ้าคิดในระบบเดียวกันเช่น ระบบดูด หรือ หัวฉีด |
10. อุปกรณ์เสริมในการใช้งาน |
มีมากพอกันไม่แตกต่าง |
มีมากพอกันไม่แตกต่าง |
แต่ตัวหน่วงเวลาจุดระเบิด สำหรับ NGVรถบางรุ่นไม่สามารถ ใช้ได้ เจ้าของรถต้องตรวจสอบก่อน |
11. ราคาเชื้อเพลิง ณ. ปัจจุบัน |
8.5 บาทต่อ กิโลกรัม |
10.5 บาท ต่อ ลิตร |
แนวโน้ม ราคา LPG จะสูงขึ้นอีก |
12. ด้านความปลอดภัย เกี่ยวกับไฟไหม้ |
เกิดได้พอๆกัน |
เกิดได้พอๆกัน |
หากแก๊สรั่งออกมาปริมาณเท่าๆกัน และอยู่ในกระโปรงหน้าหากมีประกายไฟ |
13. อันตรายจากแรงดัดจากถัง กรณีระเบิดจากแรงอัด |
มากกว่า คือ 3000 PSI |
น้อยกว่า คือ 130 PSI |
ดังนั้นถัง NGV จะต้องรอบคอบ และรัดกุมมาก ถังจึงหนาและหนัก กว่ามากๆ รถที่ติดตั้งจะท้านทรุก ลงประมาณ 1-2 cm |
14. จุดคุ้มทุนในการ ลงทุนติดตั้ง |
ช้ากว่า |
เร็วกว่า |
แต่ระยะยาว ราคา NGV ถูกกว่า จะประหยัดในภายหลัง |
15. การดูแล และควบคุมการติดตั้ง
และตรวจสอบจากรัฐ |
ดีกว่า เข้มกว่า |
ในระดับกลาง |
รถติด NGV ทุกคันต้องผ่านการ
ตรวจสอบจากหน่วยงาน กลางหรือวิศวกรผู้ได้รับอนุญาต
และ จะต้องนำรถไป
ตรวจสภาพทุกๆปีก่อนชำระภาษี |
16. จำนวนนศูนย์ติดตั้ง และบริการ หลังการขาย |
มีน้อยกว่า |
มีมากกว่า |
เนื่องจาก ศูนย์ต้องได้รับการรับรอง จาก ปตท และ กรมการขนส่ง จึงมีไม่มาก |
17. มาตรฐานของศูนย์บิการ |
ดีกว่า |
ในระดับกลาง |
เนื่องจากมีการควบคุม ตรวจสอบ และต้อง ได้รับอนุญาตและการรับรอง |
18. คุณภาพอุปกรณ์การติดตั้ง |
เท่ากัน |
เท่ากัน |
เพราะเป็นของใหม่ นำเข้า ซึ่งได้รับมาตรฐานยุโรปอยู่แล้ว |
19. ด้านอุปกรณ์บำรุง รักษาหลังการใช้งาน |
แพงกว่า น้อยกว่า |
ถูกกว่าและมีผู้ค้าจำนวนมาก |
เปรียบเทียบด้วยข้อมูลปัจจุบัน |
20. การนำเสนอข่าว และข้อเท็จจริง จากสื่อและหน่วยงาน |
ได้รับการสนันสนุนจากรัฐ องค์กรเอกชนและ สื่อมากในด้านดี |
ไม่ได้รับความเป็นธรรม มักจะสื่อในทาง จำเลย |
แต่มรบางสื่อนะครับที่ยัง เที่ยงตรงอยู่ครับ |